ชา ถูกค้นพบโดยจักรพรรดิเสินหนิงของจีน มี 2 สายพันธุ์ คือ ชาจีน และชาอัสสัม ชาเขียว เป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมมากที่สุดของโลกจากบรรดาชาทุกประเภท
อาหารและยา
ชาดอกไม้ (Flower Tea) เป็นเครื่องดื่มประเภทชาสมุนไพรที่สกัดมาจากดอกไม้นานาชนิด นิยมดื่มเพื่อผ่อนคลายความเครียด บำรุงสุขภาพ และความสวยงาม
ชา เครื่องดื่มยอดนิยมมีมานานนับศตวรรษ ชามีต้นกำเนิดจากจีนและญี่ปุ่น ชามีสารอาหารและสารประกอบที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย
ชาสมุนไพร เป็นเครื่องดื่มชาประเภทหนึ่งที่ทำจากการชงหรือต้มสมุนไพร มักทำจากใบ ดอก ราก ผล เปลือกไม้ หรือเมล็ดของพืช ชาสมุนไพรมีรสชาติและกลิ่นหอม และสรรพคุณที่แตกต่างกันไปตามชนิดของพืชสมุนไพรที่ใช้ทำ
ชา เครื่องดื่มยอดนิยมมีมานานนับศตวรรษ มีต้นกำเนิดจากจีนและญี่ปุ่น มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ชามีหลากหลายประเภท ขึ้นอยู่กับวิธีการผลิตและกรรมวิธีการแปรรูปใบชา ชาที่นิยมดื่มกันทั่วโลก ได้แก่ ชาดำ ชาเขียว ชาอู่หลง ชาขาว ชาดอกไม้ และชาสมุนไพร
สารแอลคาลอยด์ เป็นสารสำคัญที่มักถูกนำมาใช้เป็นยารักษาทางการแพทย์ มีอยู่ในยาหลายประเภท พบมากในพืชที่เป็นกลุ่มพืชสมุนไพร เช่น ยาแก้ไอ ยาแก้หอบหืด ยาในกลุ่มระงับอาการปวด ยาชาเฉพาะที่ ยารักษาแผลในกระเพาะและลำไส้ ยาลดความดันโลหิต และยากลุ่มการต้านมะเร็ง
สารเคอร์คูมิน (Curcumin) พบในพืชวงศ์ขิง เช่น ขมิ้น ขมิ้นชัน ว่านนางคำ เป็นสารกลุ่มโพลีฟีนอลมีสีเหลือง พบมากในขมิ้นชัน มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ต้านอนุมูลอิสระ และป้องกันโรคได้หลายชนิด เช่น โรคข้ออักเสบ โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคอัลไซเมอร์ และโรคพาร์กินสัน
กระท่อม สมุนไพร แก้โรคบิด ท้องร่วง และปวดมวนท้อง ชาวบ้านเคี้ยวใบกระท่อมสด หรือเอาใบกระท่อมมาย่างผสมกับน้ำพริกรับประทานเป็นอาหาร เพื่อให้มีแรงทำงานและสามารถทนตากแดด กลางแจ้งได้เป็นเวลานานโดยไม่รู้สึกเหนื่อย กระท่อมมีสารเสพติดมีการใช้ใบกระท่อมเพื่อควบคุมการติดฝิ่น
จริงหรือหลอก เรื่อง กัญชารักษาโรคมะเร็งได้ จากกรณีที่มีแชร์ข่าวในโซเชียลมีเดียเกี่ยวกับการใช้กัญชารักษาโรคมะเร็ง ทำให้หลายต่อหลายคนที่กำลังเผชิญกับโรคร้ายนี้ ต่างเสาะแสวงหากัญชาเพื่อนำมารักษาโรคตามคำบอกเล่า แต่... กัญชารักษาโรคมะเร็งได้จริงหรือ?? “กัญชา” จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต จำหน่าย นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครอง เว้นแต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขจะได้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มียาจากกัญชาได้รับการขึ้นทะเบียนตำรับยาจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา(อย.)แต่อย่างใด เนื่องจากยังไม่มีงานวิจัยทางวิชาการในคนยืนยันว่าสามารถรักษาโรคมะเร็งได้ อย่างไรก็ตาม ในต่างประเทศได้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ โดยมีข้อบ่งใช้ของยาใบบางอาการของโรค เช่น กัญชาใช้บรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนที่เกิดจากการใช้เคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งกัญชาช่วยเพิ่มความอยากอาหารให้ผู้ป่วยโรคเอดส์กัญชารักษาภาวะปวดเกร็งในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง และกัญชารักษาอาการปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง อย่างไรก็ตามการนำกัญชามาสักด เพื่อทำยารักษาโรค
กัญชาถูกปลดล็อกจากการเป็นสารเสพติดระดับหนึ่ง เพราะสารสกัดกัญชา มีสรรพคุณของกัญชาที่เป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์และการรักษาผู้ป่วยจากผลการวิจัยต่างๆ การสกัดกัญชาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ ได้เริ่มนำสารสกัดกัญชาเพื่อใช้รักษาผูู้ป่วยของโรคบางอาการที่ระบุไว้ชัดเจน และผู้ป่วยบางกลุ่มที่เริ่มทดลองการใช้สารสกัดกัญชารักษา กัญชาในประเทศไทยขึ้นทะเบียนเป็นสารเสพติดประเภท 5 ภายใต้พระราชบัญญัติยาเสพติด พ.ศ. 2522 และไทยเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีกฎหมายกัญชาทางการแพทย์ สารสกัดกัญชาใช้ทางการแพทย์ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม สารสกัดกัญชาได้ประโยชน์ในการรักษา ซึ่งมีข้อมูลทางวิชาการที่สนับสนุนชัดเจน ภาวะคลื่อนไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด โรคลมชักที่รักษายากในเด็กและโรคลมชักที่ดื้อยา ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกปราทเสื่อมแข็ง ภาวะปวดประสาทที่ใช้วิธีการรักษาอื่นๆแล้วไม่ได้ผล สารสกัดกัญชา น่าจะได้ประโยชน์ในการควบคุมอาการ ซึ่งควรมีข้อมูลทางวิชาการสนับสนุนหรือการวิจับเพิ่มเติม ในประเด็นความปลอดภัยและประสิทธิผล เพื่อใช้สนับสนุนการนำมาใช้ โรคพาร์กินสัน โรคอัลไซเมอร์
Load More