ตำรับยาแผนไทย

กฎหมายเกี่ยวกับกัญชา
ยาและสมุนไพร

กฎหมายเกี่ยวกับ กัญชา

กัญชา เป็นพืชที่ออกฤทธิ์ทางประสาท มีสารออกฤทธิ์สำคัญ คือ เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ซึ่งมีฤทธิ์ต่อสมอง ควบคุมความคิด อารมณ์ และพฤติกรรมของผู้เสพ ทำให้ผู้เสพมีอาการคล้ายเมาเหล้า เมื่อเสพจะต้องการปริมาณที่มากขึ้น ทำให้ความคิดอ่านช้า และสับสน ประสาทหลอน โดยเฉพาะการเสพกัญชาด้วยการสูบเพียง 4 มวน เท่ากับสูบบุหรี่ 20 มวน (1 ซอง) เสี่ยงเป็นมะเร็งปอดมากกว่าสูบบุหรี่ถึง 5 เท่า “กัญชา” ถูกควบคุมตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.
ตำรับยาแผนไทย 4 กลุ่ม มีกัญชาผสม ยาสมุนไพรไทย
ยาและสมุนไพร

ตำรับยากัญชา สู่การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แผนไทย

ที่มาของตำรับยากัญชา จากตำรับยาแผนไทย 4 กลุ่ม ตำรับยากัญชา จากตำรับยาชาติ สู่การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ จากพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2562 เมื่อประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ทำให้ ประเทศไทย เป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่อนุญาตให้ใช้ “กัญชา” เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้เผยแพร่ที่มาของ ตำรับยาไทยโบราณที่มีกัญชาผสม สู่การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจุบัน จากตำรับยาไทยกว่า 26,000 ตำรับ มีตำรับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ 200 ตำรับ มีตำรับยาที่ผ่านการพิจราณา
ตำรับยาไทย 16 ตำรับ มีกัญชาผสมรักษาโรค
ยาและสมุนไพร

ตำรับยาแผนไทย 16 ตำรับ มีกัญชาผสมรักษาโรค นานกว่าศตวรรษ

การแพทย์แผนไทย องค์ความรู้ตั้งแต่สมัยโบราณแสดงให้เห็นว่าไม่ได้ล้าหลังหรือน้อยหน้าไปกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน การใช้กัญชาเพื่อการรักษาทางการแพทย์แผนไทยมีมานาน เมื่อวันที่ 12 เม.ย.มีรายงานว่า ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องกำหนดตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ที่ให้เสพเพื่อรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ พ.ศ.2562 เมื่อวันที่ 11 เม.ย.ที่ผ่านมา โดยระบุว่า โดยที่เป็นการสมควรกำหนดตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่ให้เสพเพื่อการรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชาการ มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด และนำไปใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ของประเทศ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 58 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่7) พ.ศ.2562